วันพฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2555

cpld


CPLD คือ ไอซีหรือชิพอเนกประสงค์ที่สามารถโปรแกรมให้เป็นวงจรดิจิตอลอะไรก็ไก้โดยวิธีการโปรแกรมง่ายๆ และสามารแก้ไขวงจรได้การโปรแกรมซ้ำ ชิพ CPLD จะเหมาะกับการออกแบบวงจรขนาดล็กถึงขนาดกลาง วงจรที่โปรแกรมไว้ใน CPLD จะคงอยู่แม้ไม่มีไฟเลี้ยงก็ตาม
 
คุณสมบัติทั่วไป
                        1.        CPLD เบอร์ XC9572 (1600เกต ) แบบ PLCC 44 ขา Speed Grade -10
                        2.        sevensegment จำนวน 4 หลัก
                        3.        LED แสดงผลสถานะจำนวน 4
                        4.        Logic Monitor ที่เป็น LED แสดงผล 3 สถานะจำนวน 4 ดวง
                        5.        ออด ( Buzzer ) จำนวน 1 ตัว
                        6.        Slide Buzzer จำนวน 4 บิต (ใช้ร่วมกับ Pluse botton switch )
                        7.        Pluse botton switch 6 ตัว
                        8.        พอร์ต K1 เป็น I/O บิตที่ใช้ I/O ได้กับ 3 V และ 5 V
                        9.         on bord oscillator 32.768 kHz
 
การทำงานของ LED บนบอร์ด CPLD

              บอร์ดนี้จะมี LED แบบ 2 สถานะ 4 ดวง คือ LD1-LD4 โดยต่อขาคาโทด ( cathode ) ลง ground และต่อขาแอโนด ( anode) เข้ากับขา I/O ของ CPLD โดยมีตัวต้านทาน RNET 470 โอห์มต่ออนุกรมอยู่เพื่อกำจัดกระแส  ดังนั้นถ้า CPLD ส่งโลจิก ‘1’ จะให้ LED นั้นติดสว่าง 

             
                            Logic monitor ที่เป็น LED แสดงผล 3 สถานะ 4 ดวง คือ MN1-MN4  โดยต่อ logic monitor โดยใช้ Jumper เข้ากับขาของ CPLD ที่ K1 ( I/O6 - I/O9)  มีรายละเอียดดังรูป ถ้า I/O ของ CPLD เป็นโลจิก ‘ 1’ ทำให้ LED ติดเป็นสีเขียว  ถ้าโลจิก ‘ 0 ’ ทำให้ LED ติดเป็นสีแดง   ถ้าเป็น high impledance  LED จะดับ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น